รัฐไฮเดอราบาด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐไฮเดอราบาด

เดกกันไฮเดอราบาด
1724–1948
ธงชาติรัฐไฮเดอราบาด
ธงปี 1947–1948
ตราแผ่นดินของรัฐไฮเดอราบาด
ตราแผ่นดิน
คำขวัญ"Al Azmat Allah"
(พระเจ้ายิ่งใหญ่ที่สุด)
"Ya Osman"
(โอ้ โอสมาน)
ไฮเดอราบาด (เขียวเข้ม) และ แคว้นเบราร์ (เขียวอ่อน) ซึ่งไม่ได้เป็นเขตของรัฐแต่เป็นเขตภายใต้ปกครองของเจ้าผู้ครองนครในปี 1853 ถึง 1903
ไฮเดอราบาด (เขียวเข้ม) และ แคว้นเบราร์ (เขียวอ่อน) ซึ่งไม่ได้เป็นเขตของรัฐแต่เป็นเขตภายใต้ปกครองของเจ้าผู้ครองนครในปี 1853 ถึง 1903
สถานะเอกราช/รัฐสำเร็จราชการโมกุล (1724–1798)
รัฐมหาราชา ใน บริติชอินเดีย (1798–1947)
รัฐที่ไม่ได้รับการรับรอง (1947–1948)
เมืองหลวงเอารังคาบาด (1724–1763)
ไฮเดอราบาด (1763–1948)
ภาษาราชการเปอร์เซีย (1724–1886)[1]
อูรดู (1886–1948)
ภาษาทั่วไปเตลูกู (48.2%)
มราฐา (26.4%)
กันนาดา (12.3%)
อูรดู (10.3%)[2][3]
ศาสนา
ฮินดู (81%)
อิสลาม (13%, ศาสนาแห่งรัฐ)[4]
Christianity and others (6%) (spread among Anglo-Indian population expanding to Secunderabad and Hyderabad) [5]
การปกครองเอกราช/รัฐสำเร็จราชการโมกุล (1724–1798)[6][7]
Princely State (1798–1950)
นิซามแห่งไฮเดอราบาด 
• 1720–48
Nizam-ul-Mulk, Asaf Jah I (แรก)
• 1911–56
Osman Ali Khan, Asaf Jah VII (ท้าย และเป็นราชประมุขนับจากปี 1950)
นายกรัฐมนตรี 
• 1724–1730
Iwaz Khan (แรก)
• 1947–1948
Mir Laiq Ali (ท้าย)
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
1724
1946
18 กันยายน 1948
1 November 1956
พื้นที่
1941[9]214,187 ตารางกิโลเมตร (82,698 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1941[9]
16,338,534
สกุลเงินรูปีไฮเดอราบาด
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิโมกุล
จักรวรรดิมราฐา
รัฐไฮเดอราบาด (1948–1956)
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย

รัฐไฮเดอราบาด (อักษรโรมัน: Hyderabad, เกี่ยวกับเสียงนี้ pronunciation ) หรือ เดกกันไฮเดอราบาด (อักษรโรมัน: Hyderabad Deccan)[10] เป็นรัฐมหาราชาในภูมิภาคเดกกันของประเทศอินเดีย มีราชธานีคือนครไฮเดอราบาด ปัจจุบันพื้นที่ของรัฐมหาราชาอยู่ในพื้นที่ของรัฐเตลังคานา, ภูมิภาคกัลยาณกรรณาฏกะ รัฐกรณาฏกะ และมราฐวาทา รัฐมหาราษฏระ ของประเทศอินเดีย

รัฐนี้มีผู้นำในปี 1724 ถึง 1857 คือนิซาม ที่ซึ่งเริ่มแรกเป็นข้าหลวงของจักรวรรดิโมกุลในเขตเดกกัน ไฮเดอราบาดค่อย ๆ กลายมาเป็นรัฐมหาราชาแห่งแรกที่มาอยู่ภายใต้ประมุขของอังกฤษโดยการลงนามในข้อตกลงพันธมิตรช่วยเหลือเกื้อกูล ในสมัยอังกฤษปกครองในปี 1901 รัฐมีรายได้เฉลี่ยต่อปีถึง 417,000,000 รูปี ถือเป็นรัฐมหาราชาที่มั่งคั่งที่สุดของอินเดีย[11] ผู้อยู่อาศัยท้องถิ่นของรัฐ ไม่ว่าจะมาจากกลุ่มชาติพันธุ์ใด จะเรียกว่า "มูลกี" (Mulki) คำนี้บังคงเรียกสืบมาถึงปัจจุบัน[12][13]

รัฐไฮเดอราบาดประกาศตนเป็นรัฐเอกราชภายใต้ระบอบราชาธิปไตยในช่วงปีท้าย ๆ ของบริติชราช หลังการแบ่งอินเดีย ไฮเดอราบาดได้ลงนามในสนธิสัญญาหยุดรบกับเขตปกครองอินเดียที่พึ่งเกิดใหม่ และยอมรับข้อตกลงต่าง ๆ ร่วมกันยกเว้นเพียงไม่ให้มีกองทัพของอินเดียประจำในรัฐตน ด้วยที่ตั้งของรัฐที่อยู่ใจกลางอินเดียและด้วยภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย รัฐไฮเดอราบาดถูกอินเดียผนวกในปี 1948[14] ส่งผลให้มีร์ โอสมาน อะลี ข่าน นิซามคนที่เจ็ด ลงนามในเอกสารส่งมอบสิทธิ์การปกครองและเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอินเดียนับแต่นั้น[15]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Tariq, Rahman (2008-09-10). Urdu in Hyderabad State. Department of Languages and Cultures of Asia, UW-Madison. pp. 36 & 46. OCLC 733407091.
  2. Beverley, Hyderabad, British India, and the World 2015, p. 110.
  3. Benichou, Autocracy to Integration 2000, p. 20.
  4. MiO'Dwyer, Michael (1988), India as I Knew it: 1885–1925, Mittal Publications, pp. 137–, GGKEY:DB7YTGYWP7W
  5. Smith 1950, pp. 27–28.
  6. Benichou, Autocracy to Integration 2000, Chapter 1.
  7. Bose, Sugata; Jalal, Ayesha (2004), Modern South Asia: History, Culture, Political Economy (Second ed.), Routledge, p. 42, ISBN 978-0-415-30787-1
  8. Benichou, Autocracy to Integration 2000, Chapter 7: "'Operation Polo', the code name for the armed invasion of Hyderabad"
  9. 9.0 9.1 Husain, Mazhar (1947). Census Of India 1941 Vol-xxi H.e.h. The Nizams Dominions (hyd State).
  10. Ali, Cherágh (1886). Hyderabad (Deccan) Under Sir Salar Jung (ภาษาอังกฤษ). Printed at the Education Society's Press.
  11. "Imperial Gazetteer2 of India, Volume 13, page 277 – Imperial Gazetteer of India – Digital South Asia Library".
  12. Leonard, Karen Isaksen (2007). Locating Home: India's Hyderabadis Abroad (ภาษาอังกฤษ). Stanford University Press. ISBN 978-0-8047-5442-2.
  13. Reddy, AuthorDeepika. "The 1952 Mulki agitation". Telangana Today (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2019-12-11.
  14. Sherman, Taylor C. (2007), "The integration of the princely state of Hyderabad and the making of the postcolonial state in India, 1948–56" (PDF), The Indian Economic and Social History Review, 44 (4): 489–516, doi:10.1177/001946460704400404, S2CID 145000228
  15. Chandra, Mukherjee & Mukherjee 2008, p. 96.

บรรณานุกรม[แก้]


พิกัดภูมิศาสตร์: 17°00′N 78°50′E / 17.000°N 78.833°E / 17.000; 78.833